Geographic Approach

ภูมิศาสตร์และภาครัฐ

กำหนดนโยบาย การปฏิบัติการ และการวางแผน นำไปสู่การตัดสินใจที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน

ภูมิศาสตร์และภาครัฐ

กำหนดนโยบาย การปฏิบัติการ และการวางแผน นำไปสู่การตัดสินใจที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี GIS สำหรับภาครัฐ

กำหนดประเด็นสำคัญ นโยบาย และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ไม่ว่าจะเป็น แผนที่ แอปพลิเคชัน การวิเคราะห์ข้อมูล และ Dashboard ในวางแผนและการจัดการปัญหาต่าง ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน สภาพอากาศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การขนส่ง การจัดการที่ดิน สุขภาพ และความปลอดภัย

โครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะที่ยืดหยุ่นได้

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญจำเป็นต้องเข้าใจผลกระทบที่เกิดกับชุมชนและธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง และต้องรู้ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นในแต่ละพื้นที่ ซึ่งปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น GIS, Digital twins, sensors และการวิเคราะห์ขั้นสูงมาใช้เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ดียิ่งขึ้น

  • การบริหารทรัพย์สินและเครือข่าย: สามารถติดตามตำแหน่งของทรัพย์สิน ประสิทธิภาพ และอายุ
    การใช้งาน
  • การวางแผนด้านโลจิสติกส์: สามารถแชร์ข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง รวมถึงป้องกันการ
    ทำงานที่หยุดชะงัก
  • การตระหนักรู้และประสิทธิภาพในการปฏิบัติการ: ติดตามกระบวนการทำงานได้แบบเรียลไทม์
  • การลำดับความสำคัญ: มองเห็นภาพรวมและแนวโน้มของข้อมูล

รับมือกับภัยพิบัติและเตรียมพร้อมกับปัญหาโลกร้อน

ภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการรับมือกับภัยพิบัติและบรรเทาความเสี่ยง ช่วยให้ภาครัฐสามารถคาดการณ์สภาพอากาศและผลกระทบด้านภูมิอากาศ นำไปสู่การวางแผนรับมือได้อย่างเหมาะสม

  • เฝ้าระวังสถานการณ์แบบเรียลไทม์
  • ติดตามเหตุการณ์และทรัพยากรต่าง ๆ
  • รับรู้สถานะของประชาชนและทรัพย์สินที่เสี่ยงต่อภัยพิบัติ
  • จำลองสถานการณ์เพื่อป้องกันและพร้อมรับมือ

การวิเคราะห์เชิงพื้นที่สู่การวางแผนที่แม่นยำ

เทคโนโลยี GIS ช่วยพัฒนาเมือง Smart city เพิ่มความรวดเร็วในการทำงานให้กับภาครัฐและเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนและ

กำหนดนโยบาย เช่น พื้นที่ที่เหมาะในการสร้างที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่สีเขียว หรือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน เป็นต้น

แผนที่เพื่อการวางแผนและฟื้นฟู

การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ทำให้เห็นความเสี่ยงต่างๆ ภาครัฐจึงสามารถสร้างองค์ความรู้ที่แข็งแรงยิ่งขึ้นในการป้องกันและบรรเทาภัยคุกคาม
เทคโนโลยี GIS ยังเป็นเครื่องมือที่สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
และช่วยสนับสนุนความพยายามในการฟื้นฟูจากภัยต่าง ๆ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี GIS สำหรับภาครัฐ

กำหนดประเด็นสำคัญ นโยบาย และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ไม่ว่าจะเป็น แผนที่ แอปพลิเคชัน การวิเคราะห์ข้อมูล และ Dashboard ในวางแผนและการจัดการปัญหาต่าง ๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน สภาพอากาศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การขนส่ง การจัดการที่ดิน สุขภาพ และความปลอดภัย

โครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะที่ยืดหยุ่นได้

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญจำเป็นต้องเข้าใจผลกระทบที่เกิดกับชุมชนและธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง และต้องรู้ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นในแต่ละพื้นที่ ซึ่งปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น GIS, Digital twins, sensors และการวิเคราะห์ขั้นสูงมาใช้เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานให้ดียิ่งขึ้น

  • การบริหารทรัพย์สินและเครือข่าย: สามารถติดตาม
    ตำแหน่งของทรัพย์สิน ประสิทธิภาพ และอายุการใช้
    งาน
  • การวางแผนด้านโลจิสติกส์: สามารถแชร์ข้อมูลเพื่อ
    เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง รวมถึงป้องกันการทำงาน
    ที่หยุดชะงัก
  • การตระหนักรู้และประสิทธิภาพในการปฏิบัติการ:
    ติดตามกระบวนการทำงานได้แบบเรียลไทม์
  • การลำดับความสำคัญ: มองเห็นภาพรวมและ
    แนวโน้มของข้อมูล

รับมือกับภัยพิบัติและเตรียมพร้อมกับปัญหาโลกร้อน

ภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังในการรับมือกับภัยพิบัติและบรรเทาความเสี่ยง ช่วยให้ภาครัฐสามารถคาดการณ์สภาพอากาศและผลกระทบด้านภูมิอากาศ นำไปสู่การวางแผนรับมือได้อย่างเหมาะสม

  • เฝ้าระวังสถานการณ์แบบเรียลไทม์
  • ติดตามเหตุการณ์และทรัพยากรต่าง ๆ
  • รับรู้สถานะของประชาชนและทรัพย์สินที่เสี่ยงต่อ
    ภัยพิบัติ
  • จำลองสถานการณ์เพื่อป้องกันและพร้อมรับมือ

การวิเคราะห์เชิงพื้นที่สู่การวางแผนที่แม่นยำ

เทคโนโลยี GIS ช่วยพัฒนาเมือง Smart city เพิ่มความรวดเร็วในการทำงานให้กับภาครัฐ และเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนและกำหนดนโยบาย เช่น พื้นที่ที่เหมาะในการสร้างที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่สีเขียว หรือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน เป็นต้น

แผนที่เพื่อการวางแผนและฟื้นฟู

การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ทำให้เห็นความเสี่ยงต่างๆ ภาครัฐจึงสามารถสร้างองค์ความรู้ที่แข็งแรงยิ่งขึ้นในการป้องกันและบรรเทาภัยคุกคาม เทคโนโลยี GIS ยังเป็นเครื่องมือที่สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน และช่วยสนับสนุนความพยายามในการฟื้นฟูจากภัยต่าง ๆ